วันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5



  
                                              Research in Early Childhood Education
                                            การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย EAED 4901
                                         อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา  สุขสำราญ


วัน / เดือน / ปี  15 กุมพาพันธ์ 2559

   สัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนนัดส่งวิจัยในบทที่หนึ่งให้นักศึกษาแต่ลกลุ่มเข้าไปพบเป็นรายกลุ่มโยอาจารย์ผู้สอนจะคอยแนะนำ

   - แนะนำการเขียนวิจัยในบทที่ 1
  - อธิบายรูปแบบการเขียนบทที่หนึ่งโดยย่อยประเด็นการเขียนให้เข้าใจง่ายขึ้น
  - ช่วยคิดสื่อในการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษา
  - วัตุประสงค์ในการทำวิจัยให้มี 1 ข้อ
  - อาจารย์อธิบายเพิ่มเติมและชี้แนะแนวทาง

การนำความรูปไปประยุกต์ใช้

       จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดทำให้เห็นวิจัยที่หลากหลาย และสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัยในอนาคต 
การประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา  แต่งกายถูกระเบียบ เข้าใจการเขียนวิจัยในบทที่ 1 มากขึ้น 

เพื่อน เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ 

อาจารย์ผู้สอน เข้าสอนตรงต่อเวลา อธิบายเข้าดครงการทำวิจัยทำให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น อธิบายย่อยการคิดบทที่ 1 เพิ่มมากขึ้น ร่วมกับนักศึกษาในการคิดสื่อในการทำวิจัย

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4



  
                                              Research in Early Childhood Education
                                            การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย EAED 4901
                                         อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา  สุขสำราญ


วัน / เดือน / ปี  8 กุมพาพันธ์ 2559
     สัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนมีการนัดพูดคุยการทำวิจัยและมีการจัดทำกลุ่มใหม่ ให้การทำวิจัยครั้งนี้มีกลุ่มละ 4 คน และแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็น 3 หัวข้อใหญ่ดังนี้

- วิจัยคณิตศาสตร์
- วิจัยภาษา
- วิจัยวิทยาศาสตร์

          กลุ่มของข้าพเจ้าได้หัวข้อในการวิจัยครั้งนี่คือ ภาษา โดยมีชื่อวิจัย คือ  วิจัยเรื่อง : การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยอายุ 4-5 ปี โดยใช้  กิจกรรมการเล่านิทานประกอบเกมการศึกษา

การนำความรูปไปประยุกต์ใช้

       จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดทำให้เห็นวิจัยที่หลากหลาย และสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัยในอนาคต มีความรู้เกี่ยวกับด้านถาษ และการทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยมากขึ้น
การประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา  แต่งกายถูกระเบียบ รวมกันคิดชื่อเรื่องในการทำวิจัยร่วมกับเพื่อนและอาจารย์ 

เพื่อน เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ 

อาจารย์ผู้สอน เข้าสอนตรงต่อเวลา อธิบายเข้าดครงการทำวิจัยทำให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น แนะหัวข้อในการทำวิจัย

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3



  
                                              Research in Early Childhood Education
                                            การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย EAED 4901
                                         อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา  สุขสำราญ


วัน / เดือน / ปี  1 กุมพาพันธ์ 2559
สัปดาห์นี้อาจารย์ผูสอนนัดรวมตัวที่ศูนย์ครูเพื่อทำความเข้าใจรายระเอียดในการทำวิจัยร่วมกับนักศึกษา ดังนี้

- อาจารย์ผู้สอนอธิบายเค้าโครงในการเขียนวิจัย ลักษณะการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาคิดชื่อเรื่อง
- นักศึกษาออกศึกษาข้อมูลในการทำวิจัยของแต่และกลุ่ม

การนำความรูปไปประยุกต์ใช้

       จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดทำให้เห็นวิจัยที่หลากหลาย และสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัยในอนาคต
การประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา  แต่งกายถูกระเบียบ 

เพื่อน เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ 

อาจารย์ผู้สอน เข้าสอนตรงต่อเวลา อธิบายเข้าดครงการทำวิจัยทำให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2



  
                                              Research in Early Childhood Education
                                            การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย EAED 4901
                                                   อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา  สุขสำราญ

วัน / เดือน / ปี  25  มกราคม 2559


             ครูผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันอภิปรายพูดคุยถึงปัญหาในชีวิตประจำวันและโยงเข้าเรื่องการตั้งปัญหาในการทำวิจัยและอาจารย์ผู้สอนนำตัวอย่างวิจัยมาให้นักศึกษาดู และนำตัวอย่างวิจัยหน้าเดี่ยวมาให้นักศึกษาดู หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาทำการค้นคว้าหาวิจัยเพื่อทำวิจัยหน้าเดี่ยวเป็นรายบุคคล 

วิจัยหน้าเดียวของข้าพเจ้า

วิจัยหน้าเดียว

1. ชื่อวิจัย : ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปีที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยดิน
    ผู้วิจัย  : ผกากานต์  น้อยเนียม ระดับการศึกษาปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    ปัญหา  : การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี
    จุดประสงค์การวิจัย  : 1. เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี โดยรวมและรายด้าน ก่อนแลหลังการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยดิน
                                         2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี โดยรวมและรายด้าน ก่อนแลหลังการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยดิน
2. วิธีการวิจัย
     2.1  กลุ่มเป้าหมาย : เด็ดปฐมวัยชายและหญิงอายุ 4-5 ปี จำนวน 15  คน
     2.2  วิธีการหรือนวัตกรรม
             2.2.1  ให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยดินด้วยตนเองอย่าอิสระโดยใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก มือ นิ้มมือในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยดินและตกแต่งต่อเติมด้วยวัสดุธรรมชาติต่างๆที่หลวกหลาย
     2.3   เครื่องมือที่ใช้
             2.3.1   แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยดิน
             2.3.2   แบบทดสอบความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี
3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
    3.1  แบบแผนการทดลองในการวิจัยครั้งนี้ดำเนินการกึ่งทดลอง เป็นตามแผนการทดลอง One – Grop prettest – Posttest Design (สิริมา  ภิญโญอนันตพงษ์ . 2550:15)
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
    4.1  ระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี โดยรวมและรายด้าน ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปด้วยดิน
    4.2 เปรียบเทียบระดับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี โดยรวมและรายด้าน ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปด้วยดิน
5.   ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ก่อนการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยดินเด็กมีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กอยู่ในระดับพอใช้ ค่าเฉลี่เท่ากับ 23.80 หลังการจักกิจกรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยดินเด็กมีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 47.13
6.  สรุปผล
ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี โดยรวมหลังได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยดินสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 (t = 41.83 )

การนำความรูปไปประยุกต์ใช้

       จากการทำวิจัยหน้าเดียวทำให้ข้าพเจ้าสามารถเข้าใจวิจัยแบบองค์ร่วมมากขึ้น สามารถอ่านและจับใจความของวิจัยแต่ละเรื่องได้
การประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ มีการเตรียมปัญหาและแนวทางการแก้ไข

เพื่อน เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ มีการเตรียมปัญหาและแนวทางการแก้ไข

อาจารย์ผู้สอน เข้าสอนตรงต่อเวลา  แต่งกายถูกระเบียบ พูดคุยของปัญหาที่นักศึกษานำเสนอและบอกแนวทางการแก้ไข แลโยงเข้าสู้การทำวิจัยให้นักศึกษาได้เข้าใจมากขึ้น


    


วันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1



  
                                              Research in Early Childhood Education
                                            การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย EAED 4901

                                               อาจารย์ผู้สอน  ดร.จินตนา  สุขสำราญ
วัน / เดือน / ปี  18  มกราคม 2559

ความรู้ที่ไดรับ
          อาทิตย์นี้เป็นการนำเสนองานวิจัยเกี่ยวกับปฐมวัยโดยมีวิจัยในการนำเสนอครั้งมีความหลากหลายที่เพื่อนแต่ละกลุ่มได้นำมารายงาน มีทั้งวิจัยที่กับกับปัญหา วิจัยการพัฒนา นอกจากนี้ในวิจัยของแต่ละกลุ่มทำให้เราเห็นวิธีการแก้ไขปัญหา แผนการสอน การจัดกิจกรรม ได้เห็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่มีความหลากหลาย เห็นว่ามีการหาคุณภาพของเครื่องมือ และท่านอาจารย์ผู้สอนก็คอยแนะนำ ให้ความรู้เพิ่มเติมในทุกวิจัย  มีการตั้งคำถามให้นักศึกษาได้คิดตลอด ซึ่งวิจัยที่มีการรายงานในอาทิตย์นี้มีดังต่อไปนี้

กลุ่มข้าพเจ้า

1    งานวิจัย เรื่อง ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะ เศษวัสดุ
การศึกษาระดับ  ปริญญาตรี     มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผู้วิจัย  รวิพร  ผาด่าน
การดำเนินการวิจัย
1.             ผู้วิจัยนำแบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาทดสอบก่อนการทดลอง (pretest) กับกลุ่มตัวอย่าง
2.             ผู้วิจัยดำเนินการทดลองในกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะเศษวัสดุเป็นเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 40 นาที รวม 25 ครั้ง ระหว่างเวลา 10.00 – 10.40 น. ซึ่งในแต่ละวันจะเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆตามแผนการจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์การแก ตัด ปะเศษวัสดุ
3.             เมื่อดำเนินการครบ 5 สัปดาห์ ผู้วิจัยทำการทดสอบความสามารถในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย หลังการทดลอง (Posttest) กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กฉบับเดียวกันกับแบบทดสอบที่ใช้ก่อนการทดลอง
4.              นำคะแนนที่ได้จากการทดลองไปทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ
5.             สรุปผลการวิจัย
6.                 สรุปผลการวิจัย หลังการทดลองเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะเศษวัสดุมีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กโดยรวมสูงกว่าก่อนการทดลอง

ข้อเสนอแนะ
 1. ควรมีการศึกษาความสามารถด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กของงเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยในช่วงอายุไหนมีพัฒนาการเป็นอย่างไร แล้วจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กในแต่ละวัย
 2. ควรมีการศึกษาความสามารถด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกิจกรรมสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะเศษวัสดุในสังดักอื่นๆ เช่น โรงเรียนที่สังกัดในหน่วยงานของเอกชน โรงเรียนที่สังกัดในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น

 3. ควรมีการศึกษาผลการจักกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะเศษวัสดุที่มีต่อความสามารถด้านอื่นๆ เช่น ความสามารถทางการคิด การใช้ความร่วมมือ ความเชื่อมั่น พฤติกรรมการช่วยเหลือ ความสามารถทางคณิตศาสตร์เป็นต้น


วิจัยของเพื่อนกลุ่มอื่นๆมีดังนี้


1.วิจัยเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้หนังสือภาพประกอบคำคล้องจองเพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนบ้านไทยสมบูรณ์ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
2.วิจัยเรื่อง การใช้กิจกรรมการวาดเพื่อเตรียมคามพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัย
3.วิจัยเรื่องผงการใช้กิจกรรมการพับเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
4.วิจัยเรื่อง การส่งเสริมทักษะการคิดของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมวิทยาศาสตร์
5.วิจัยเรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบนิทานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
6.วิจัยเรื่อง การส่งเสริมทักษะการคิดขอองเด็กปฐมวัยโดยใช้เกมการศึกษา

การนำความรูปไปประยุกต์ใช้

         จากการนำเสนองานวิจัยทำให้ได้เห็นรูปแบบการวิจัยที่หลากหลายได้ทราบว่าวิจัยนอกจากจะเริ่มจากปัญหาแล้ว
ยังสามารถเป็นการพัฒนาก็ได้ นอกจากนี้ยังได้เห็นเครื่องมือที่ใช้ในความวิจัยมีความหลากหลายที่เราสามารถนำมาดัดแปลงใช้ได้จริงในรายวิชาการวิจัย แล้วสามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต

การประเมิน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา  แต่งกายถูกระเบียบ เตรียมความพร้อมสำหรับการนำเสนอการวิจัย ตั้งใจฟังที่เพื่อนนำเสนองานวิจัย และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้สอน
เพื่อน : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ มีการเตรียมความพร้อมในการนำเสนองานวิจัย

อาจารย์ผู้สอน : เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ ฟังและแนะนำทุกกลุ่มโดยละเอียด  ตรงไหนที่นักศึกษาทำถูกต้องอาจารย์ผู้สอนก็จะชม หากมีตรงไหนผิดอาจารย์ผู้สอนจะคอยแนะนำให้นักศึกษาเห็นและบอกแนวทางการแก้ไข